“อว. เผยฉีดวัคซีนของไทย ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 ฉีดวัคซีนแล้ว 90,735,069 โดส และทั่วโลกแล้ว 7,840 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 640.5 ล้านโดส โดยกรุงเทพฯ ยังเป็นพื้นที่ฉีดวัคซีนเข็ม 1 มากสุด (115.8%)
➡️(26 พฤศจิกายน 2564) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 7,840 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 34.1 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 454 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 196 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว”
ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 640.5 ล้านโดส โดยบูรไนฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (91.3% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 229.8 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 90,735,069 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 61.47%
🌏 ในการฉีดวัคซีน จำนวน 7,840 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ
1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 90,735,069 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 47,331,644โดส (71.5% ของประชากร)
-เข็มสอง 40,202,745 โดส (60.7% ของประชากร)
-เข็มสาม 3,200,680 โดส (4.8% ของประชากร)
2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.-26 พ.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 90,735,069 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 266,114 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 440,024 โดส/วัน
3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
– เข็มที่ 1 22,507,194 โดส
– เข็มที่ 2 3,549,910 โดส
– เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน AstraZeneca
– เข็มที่ 1 12,337,430 โดส
– เข็มที่ 2 25,849,151 โดส
– เข็มที่ 3 2,372,182 โดส
วัคซีน Sinopharm
– เข็มที่ 1 7,224,369 โดส
– เข็มที่ 2 6,617,167 โดส
– เข็มที่ 3 0 โดส
วัคซีน Pfizer
– เข็มที่ 1 5,093,676 โดส
– เข็มที่ 2 4,157,852 โดส
– เข็มที่ 3 704,816 โดส
วัคซีน Moderna
– เข็มที่ 1 168,975 โดส
– เข็มที่ 2 28,665 โดส
– เข็มที่ 3 123,682 โดส
4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
– บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 123.2% เข็มที่2 119.8% เข็มที่3 93.9%
– เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 64.4% เข็มที่2 61.3% เข็มที่3 19.4%
– อสม เข็มที่1 77.8% เข็มที่2 73.4% เข็มที่3 15.6%
– ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 73.7% เข็มที่1 65.8% เข็มที่3 3.6%
– ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 63% เข็มที่2 51.9% เข็มที่3 3.6%
– ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 69.3% เข็มที่2 61% เข็มที่3 1%
– หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 18.8% เข็มที่2 14.8% เข็มที่3 0.3%
– นักเรียน/นักศึกษา อายุ 12-17 ปี เข็มที่1 67.4% เข็มที่2 57.7% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 65.7% เข็มที่2 55.8% เข็มที่3 4.4%
5. %การฉีดวัคซีนพื้นที่นำร่องท่องเที่ยว
1. กรุงเทพมหานคร เข็มที่1 115.8% เข็มที่2 102.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 82.5% เข็มที่2 72.9%
2. ชลบุรี เข็มที่1 88.5% เข็มที่2 80.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 76.5% เข็มที่2 73%
3. ภูเก็ต เข็มที่1 86% เข็มที่2 82.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 73.7% เข็มที่2 70.8%
4. เชียงใหม่ เข็มที่1 80.2% เข็มที่2 62.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 86.6% เข็มที่2 69%
5. สมุทรปราการ เข็มที่1 79.7% เข็มที่2 66.7% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 94.5% เข็มที่2 85.7%
6. ระนอง เข็มที่1 76% เข็มที่2 64.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 75.6% เข็มที่2 71.7%
7. พังงา เข็มที่1 72.2% เข็มที่2 65.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 74.5% เข็มที่2 71.1%
8. ระยอง เข็มที่1 71% เข็มที่2 61.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66.7% เข็มที่2 61.9%
9. สุราษฎร์ธานี เข็มที่1 69.4% เข็มที่2 52.4% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 78.4% เข็มที่2 68.8%
10. กระบี่ เข็มที่1 68.8% เข็มที่2 62.2% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 77.9% เข็มที่2 72.8%
11. ประจวบคีรีขันธ์ เข็มที่1 66.6% เข็มที่2 58% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 70.4% เข็มที่2 64.9%
12. เพชรบุรี เข็มที่1 65.3% เข็มที่2 58.3% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 65.9% เข็มที่2 61.4%
13. ตราด เข็มที่1 64.4% เข็มที่2 56.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 66.7% เข็มที่2 62.8%
14. บุรีรัมย์ เข็มที่1 59.6% เข็มที่2 50% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 79.7% เข็มที่2 65%
15. เลย เข็มที่1 55.6% เข็มที่2 46.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 71.4% เข็มที่2 61.5%
16. อุดรธานี เข็มที่1 55% เข็มที่2 46.6% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.2% เข็มที่2 71.6%
17. หนองคาย เข็มที่1 53% เข็มที่2 45.5% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 68.9% เข็มที่2 63.1%
รวม เข็มที่1 86.4% เข็มที่2 74.9% และประชากร 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 80.2% เข็มที่2 70.9%
6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 640,548,017 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 229,818,360 (49.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. เวียดนาม จำนวน 114,591,610 โดส (70.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
3. ไทย จำนวน 90,735,069 โดส (71.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
4. ฟิลิปปินส์ จำนวน 79,602,980 โดส (40.2%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
5. มาเลเซีย จำนวน 52,541,988 โดส (78.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
6. กัมพูชา จำนวน 29,662,635 โดส (83.9%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 25,869,175 โดส (28.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 10,083,329 โดส (86%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 6,898,534 โดส (51.4%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 744,337 โดส (91.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร อย่างน้อย 1 เข็ม
7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 69.36%
2. ยุโรป 10.40%
3. อเมริกาเหนือ 9.33%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 7.28%
5. แอฟริกา 3.01%
6. โอเชียเนีย 0.62%
8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,457.62 ล้านโดส (175.5% ของจำนวนโดสที่ฉีดต่อประชากร)
2. อินเดีย จำนวน 1,203.02 ล้านโดส (88%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 454.45 ล้านโดส (136.9%)
4. บราซิล จำนวน 297.96 ล้านโดส (141.8%)
5. อินโดนีเซีย จำนวน 229.82 ล้านโดส (83.3%)
9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. คิวบา (246.4%) (ฉีดวัคซีนของ Abdala และ Soberana02)
2. ชิลี (210.8%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac
3. มัลดีฟส์ (206% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
4. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (202.6%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
5. บาห์เรน (194%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
6. อุรุกวัย (192.4%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
7. อิสราเอล (178.1%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. กาตาร์ (177%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
9. จีน (175.5%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, CanSino และ Anhui)
10. กัมพูชา (175.4%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac, AstraZeneca/Oxford และ J&J)
แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุขประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)