สสส.จับมือ ม.มหิดลเสริมสร้างสุขภาวะคนจนเมือง เตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ ในพื้นท่ีนาร่อง 3 ภูมิภาค 15 ชุมชน 3 จังหวัด เกิดนวัตกรรมสุขภาพ ทักษะอาชีพ ถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น เชียงใหม่ เปิดพื้นท่กีิจกรรม“ข่วงผญา”ใช้ตุงไส้หมูลดช่องว่างระหว่างวัย
เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2561 ที่พิพิธบางลาพู สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ร่วมกับคณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานนาเสนอข้อมูล เผยแพร่ความสาเร็จของโครงการเสริมสร้าง สุขภาวะคนจนเมือง เพื่อเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ พร้อมเสวนา “สานพลังเครือข่ายคนจนเมือง เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ” เพื่อเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดาเนินงานระหว่างภาคีเครือข่ายพื้นที่นาร่อง โครงการ การสร้างองค์ความรู้เชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นจากการทางานในระดับพื้นที่ โดยมี นายพิทยา จินาวัฒน์ ประธานกรรมการการบริหารคณะที่ 2 สสส. เป็นประธานในพิธีเปิด พร้อมด้วย นักวิชาการด้านการสร้างเสริม สุขภาวะ ภาคีเครือข่ายพื้นที่นาร่อง เข้าร่วมงาน ณ ลานกิจกรรมพิพิธบางลำพู ถนนพระสุเมรุ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
นายพิทยา จินาวัฒน์ ประธานกรรมการการบริหารคณะที่ 2 สสส. กล่าวว่า สสส. ได้พัฒนากรอบ การดาเนินงานให้ครอบคลุมการดูแลสุขภาวะของทุกคนในประเทศไทยเพื่อให้บรรลุและไปถึงวิสัยทัศน์ที่ สสส. ได้วิเคราะห์ปัญหาทางสุขภาพของประชากรกลุ่มเฉพาะ ซึ่งมีเหตุปัจจัยเสริมอันเนื่องมาจากความเหลื่อมล้า ทางสังคมหรือ ปัจจัยทางสังคมที่กาหนดสุขภาพ เช่น สุขภาพ เพศ ศาสนา ความเชื่อ เชื้อชาติ สัญชาติ การศึกษา การทางาน รายได้ และการรวมกลุ่ม ส่งผลให้ขาดโอกาสในการเข้าถึง หรือ เข้าถึงได้ยาก จึงจาเป็นต้องมีการ พัฒนาแนวทาง และวิธีการพิเศษในการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ จึงให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่สังคมสูงวัยและเน้นสรา้งสรรค์กระบวนการให้ผสูู้งอายุสามารถปรับตัวใหเ้ท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ โลก มีหลักในการดารงชีพและการดูแลระยะยาวจากครอบครัวและชุมชนที่พอเพียงและยั่งยืน จึงได้สนับสนุน โครงการนี้ขึ้นเพื่อพัฒนารูปแบบการเตรียมความพร้อมของชุมชน เพื่อรองรับสังคมสูงวัย โดยเน้นไปที่ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนจนและอาศัยอยู่ในเขตเมือง นาไปสู่การสร้างเสริมสุขภาวะใหก้ ับคนจนเมืองทุกช่วงวัย
ดร.วีรวัฒน์ แสนศรี ผู้จัดการโครงการเสริมสร้างสุขภาวะคนจนเมือง เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ สังคมผู้สูงอายุ กล่าวว่า ตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา โครงการฯ ได้รับความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ในการ ขับเคลื่อนโครงการโดยมีเป้าหมายร่วมกันคือมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี และสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี ศักดิ์ศรี รวมถึงการส่งเสริมให้มีการเตรียมความพร้อมใน 3 มิติ ทั้งด้านสุขภาพ ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ ซึ่ง ปัจจุบันมีการดาเนินการในพื้นที่นาร่อง 3 ภูมิภาค จานวน 15 ชุมชน จากทั้งหมด 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ อุบลราชธานี และกรุงเทพมหานคร ก่อเกิดผลสัมฤทธิ์การดาเนินเนินงานในระดับพื้นที่ ทั้งด้านกลไกและรูปแบบ
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัยตามบริบทของชุมชนนั้นๆ เกิดชุดรูปแบบกิจกรรม และนวัตกรรมที่สร้าง เสริมสุขภาวะให้กับผู้สูงอายุ เกิดทักษะอาชีพ การถ่ายทอดภูมิปัญญา และการทากิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชน ผู้สูงวัย นอกจากเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีแล้วยังสร้างรายได้เข้ากลุ่มอีกด้วย จากความสาเร็จดังกล่าวทาง โครงการจึงจัดกิจกรรมเผยแพร่ การดาเนินงานที่เกิดผลสาเร็จเป็นรูปธรรมสู่สาธารณะให้เกิดพื้นที่แลกเปลี่ยน เรียนรู้ดา้ นแนวคิดและกระบวนการทางานระหว่างภาคีเครือข่ายและพ้ืนที่นาร่อง
นางดาวประกาย บัวล้อม ตัวแทนแกนนาจากพื้นท่ีนาร่อง ชุมชนย่านวัดเกต จังหวัดเชียงใหม่กล่าวว่า ได้ดาเนินงานในชุมชนโดยสร้างชุดกิจกรรม “ข่วงผญา” ขึ้น ณ ลานต้นแก้ว วัดเกตการาม ซึ่งเป็นลานที่ ผู้คนในชุมชน มาพบปะ พูดคุย เร่ืองราวต่างๆ ในชีวิตประจาวัน รวมถึงงานประเพณีทางศาสนาและสังคมด้วย เช่นกัน ด้วยกิจวัตรของชุมชนเช่นนี้ แกนนาชุมชนจึงได้ดาเนินการหาเคร่ืองมือที่จะโน้มน้าวเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชนให้เกิดขึ้น โดยนาเอา “ตุงไส้หมู” มาเป็นตัวสร้างพื้นที่ พาผู้สูงวัย และคนในช่วงวัยอื่นๆ มาอยู่ รวมกัน เปิดโอกาสใหเ้ กิดการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชีวติ กันโดยธรรมชาติ
นางจาปี มรดก ตัวแทนแกนนาจากพื้นท่ีนาร่อง ชุมชนเกตุแก้ว จังหวัดอุบลราชธานี กล่าวว่า การดาเนินงานของชุมชนเกตุแก้วนั้น เริ่มมาจากการรวมกลุ่มกันของแม่บ้าน และสตรีในชุมชน ประกอบกับผู้นา ชุมชนเล็งเห็นว่า “สตรี” เป็นกลุ่มคนสาคัญที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจของครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ จึงได้ดาเนินงานจัดทาโครงการ “เสริมสร้างบทบาทสตรีในชุมชน สร้างอาชีพพลังสตรีเปลี่ยนชุมชนให้ น่าอยู่” เพื่อพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นาแก่สตรี ให้มีบทบาทในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและสังคมโดยวิธีการ ดาเนินงาน ได้เริ่มจากการดาเนินงานจัดอบรม ให้ความความรู้เกี่ยวกับการหารายได้และแนวคิดในการสร้างอาชีพ ด้วยธุรกิจของสตรีในชุมชน จากนั้นได้ดาเนินการจัดทาแผนธุรกิจที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรีในชุมชนตามบริบทของ พื้นที่ แล้วจึงทดลองเป็นผู้ประกอบการโดยชุมชนเกตุแก้วได้นาร่องทาขนม “กล้วยเกตุแก้ว” ขายในชุมชนจาก ดาเนินงานของของโครงการทาให้สตรีในชุมชนเกิดความตระหนักและกาหนดเป้าหมายในชีวิตได้พร้อมทั้งเรียนรู้ การใชจ้ า่ ยเงนิ การออมและการลงทุนเพื่อรองรับสังคมสูงวัยในอนาคตได้
นอกจากนี้ ภายในงานยังมีนิทรรศการ รูปแบบและนวัตกรรมการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัยของ คนจนในเขตเมือง จาก 15 ชุมชนนาร่อง และการนาเสนอข้อมูลผลงานวิจัย การออกแบบชุดกิจกรรมสาหรับการ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ โดย ดร. วีรวัฒน์ แสนศรี ผู้จัดการโครงการเสริมสร้างสุขภาวะคนจนเมืองเพื่อเตรียม ความพรอ้มสู่สังคมผสูู้งอายุอีกด้วย